ชุมชนบ้านไร่กร่าง อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี

ชุมชนบ้านไร่กร่าง อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี

“1 ไร่คลายวิกฤตฟื้นวิถีชีวิตชุมชนหลังโควิค 19 ภายใต้โครงการหลัก

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก”

 

  บริบทชุมชน

แผนที่ชุมชน

 

ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน

          ชุมชนไร่กร่าง เป็นชุมชนเล็กๆ ตั้งอยู่ที่ ตำบลไร่สะท้อน อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเดิมทีแล้วหมู่บ้านแห่งนี้เป็นหมู่บ้านที่มีประชากรอพยพมาจากหมู่บ้านระหานน้อยซึ่งอยู่ทางด้านตะวันออกของหมู่บ้านและได้ตัดสินใจมาตั้งรกรากกันอยู่ที่นี่ เนื่องจากเห็นว่าพื้นที่บริเวณนี้มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ดี มีห้วย และหนองน้ำไหลผ่านรอบ ๆ  นอกจากนั้นยังอุดมสมบูรณ์ไปด้วยต้นตาลและต้นไม้ใหญ่ โดยเฉพาะต้นกร่างอันเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านบริเวณริมหนองน้ำในชุมชนจะมีต้นกร่างขนาดใหญ่ประมาณ 15 คนโอบอยู่ 1 คู่ หรือ 2 ต้น มี เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3-4 เมตร ชาวบ้านจึงพร้อมใจกัน ยึดสถานที่ตรงนี้เป็นที่อยู่อาศัยและที่ทำมาหากินพร้อมทั้งตั้งชื่อหมู่บ้านตามต้นไม้ใหญ่ว่า หมู่บ้านหนองไร่กร่างต่อมาเรียกกันเพี้ยนกันมาเป็น “หมู่บ้านไร่กร่าง” ในปัจจุบัน

          คนในชุมชนส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา และการนำผลผลิตจาก    ต้นตาลมาใช้ประโยชน์ ทั้งปีนเก็บน้ำตาลจากต้นตาลที่สูงเสียดฟ้าและการนำผลตาลมาขาย นอกจากนั้นที่นี่ยังมีแหล่งเรียนรู้ที่ชื่อว่า “แหล่งการเรียนรู้ ทุ่งนาป่าตาล บ้านไร่กร่าง” ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับต้นตาล และการทำตาลที่ทำกันมาอย่างยาวนาน

 

ประเด็นปัญหาชุมชน

 

 

 

แนวทางการแก้ไขปัญหา

 

 

      

 

      

 

   

 

 

Model การทำงาน

 

 

ผลความสำเร็จของชุมชน

 

ชุมชนท่องเที่ยววิถีชีวิตทางวัฒนธรรม

 

เมนูสำรับอาหารของชุมชน

 

             หัวโตนด อาหารพื้นบ้านเป็นเมนูอาหารท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ (Signature) ของชุมชนไร่กร่าง มีที่มาจากคนรุ่นปู่รุ่นย่าเมื่อขึ้นต้นตาลเสร็จ ชาวบ้านรับประทานอาหารเย็นร่วมกัน พบปะสร้างสรรค์ จึงมีการนำหัวโตนดมาทำเป็นอาหารหลากหลายประเภท

 

การท่องเที่ยววิถีชีวิตชุมชน

   

 

 

 

 

รางวัลที่ชุมชนได้รับ

              ผู้ใหญ่ประสงค์  หอมรื่น     ได้รับรางวัลผู้ใหญ่ยอดเยี่ยมประจำปี 2563

 

คณะทำงาน

              1. สำนักงานโครงการพัฒนาท้องถิ่นตามศาสตร์พระราชา

              2. สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

              3. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ